บันทึกการเรียนรู้ที่ 6
เวลา 11:50 - 16:00 น.
วัน พุธ ที่ 14 เดือน กุมพาพันธ์ พ.ศ. 2561
ความรู้ที่ได้ในวันนี้
ได้เรียนรู้เกี่ยวนักทฤษฎี
1. เพียเจท์ (เรียนรู้สติปัญญา) เพียเจต์ ให้ชื่อการพัฒนาการของเด็กวัยรุ่นหรือวัยมัธยมศึกษาว่า Formal Operation สามารถคิดได้แบบผู้ใหญ่ คือ
- คิดในสิ่งที่เป็นนามธรรมได้
- มีความสนใจในปรัชญาชีวิต ศาสนา อาชีพ
- สามารถใช้เหตุผลเป็นหลักในการตัดสินใจ
- สามารถคิดเหตุผลได้ทั้งอนุมานและอุปมาน
- มีหลักการในการให้เหตุผลของตนเอง เกี่ยวกับความยุติธรรม เสมอภาคและมีมนุษยธรรม
2. ธอร์นไดด์ (เรียนรู้จากรูปธรรมและนามธรรม) ได้เสนอกฎการเรียนรู้ที่สำคัญ 3 กฎ คือ
2.1.รูปธรรม
2.2. ภาพ
2.3. นามธรรม
3. สกินเนอร์ (เสริมแรง)
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
ประกอบด้วยหัวข้อเนื้อหาหรือทักษะ
1.การนับ (Counting) เช่น การนับจำนวน 1-10 การนับจำนวนรูปภาพ การนับจำนวนเด็กในห้องเรียนของตัวเอง
2.ตัวเลข (Number) เช่น ให้เด็กเล่นเกี่ยวตัวเลข กิจกรรมส่งเสริมทางคณิตศาสตร์การอ่านวันที่ การชั่งน้ำหนัก-ส่วนสูง
3.การจับคู่ (Matching) เช่น การจับคู้รองเท้า การจับคู้ช้อน - ซ้อม การจับคู่ภาพเหมือนผลไม้ การจับคู่ภาพที่แตกต่างจากพวก
4.การจัดประเภท (Classification) เช่น การจัดหมวดหมู่เครื่องเขียน การจัดหมวดหมู่เครื่องแต่งกาย
5.การเปรียบเทียบ (Comparing) เช่น การเปรียบเทียบราคาผักว่าแพง-ถูก การเปรียบเทียบขนาดรองเท้าว่าใหญ่-เล็ก
6.การจัดลำดับ (Ordering) เช่น การจัดลำดับส่วนสูงของเด็กในห้องเรียน การจัดลำดับดินสอยาว-สั้น
7.รูปทรงและเนื้อที่ (Shape and space) เช่น รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงแก้วน้ำ-ขวดน้ำ
8.การวัด (Measurement) เช่น การวัดพื้นที่สนามเด็กเล่น การวัดส่วนสูง
9.เซต (Set) เช่น การจัดกลุ่มระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง การจัดกลุ่มระหว่างผมยาว-ผมสั้น
10.เศษส่วน (Fraction) เช่น การนับลูกชิ้นในไม้เสียบ การนับขนมในห่อ
11.การทำตามแบบและลวดลาย (Patterning) เช่น การวาดรูปตามที่กำหนด การเขียนตามเส้นปะ ก-ฮ
12.การอนุรักษ์ หรือการคงที่ด้านปริมาณ (Conservation) เช่น การนำวัสดุธรรมชาติมาประดิษฐ์องเล่น การเรียนรู้การนับเลข
หลักการพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์ตามแนวทางการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย
1.เด็กเรียนจากประสบการณ์ตรงจากของจริง เริ่มจากการสอนรูปธรรม คือ
1.1 ขั้นใช้ของจริง
1.2 ขั้นใช้รูปภาพแทนของจริง
1.3 ขั้นกึ่งรูปภาพ
1.4 ขั้นนามธรรม
เช่น หนังสือนิทาน ของเล่นที่เป็นเครื่องครัว รูปภาพสัตว์ป่า รูปภาพอาหารต่างๆ
2.เริ่มจากสิ่งที่ง่ายๆใกล้ตัวเด็กจากง่ายไปหายาก เช่น การบอกทิศทาง การบอกวันและเวลา รูปทรงภาชนะที่ใส่อาหาร ชุดเครื่องแต่งกาย
3.สร้างความเข้าใจและรู้ความหมายมากกว่าให้จำ เช่น จานจะมีรูปทรงกลม ทรงรี ไว้ใช้ใส่อาหารที่เด็กๆรับประทานกันอยู่ทุกวัน แก้วน้ำ จะมีรูปทรงกระบอก เอาไว้ใส่น้ำ
4.ให้คิดจากปัญหาในชีวิตประจำวันของเด็กเพื่อขยายประสบการณ์ให้สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม เช่น การรับประทานอาหารด้วยตนเอง เม่ิ่อเด็กมาโรงเรียนต้องฝึกจับช้อน-ส้อมด้วยตัวเอง การจับดินสอในการเขียนชื่่อตัวเอง
5.จัดกิจกรรมให้เกิดความสนุกสนานและได้รับความรู้ไปด้วย เช่น กิจกรรมการทำขนมปัง ได้รู้วิธีการทำและอุปกรณ์ใการทำ กิจกรรมเต้นตามจังหวะเครื่่องดนตรี ได้รู้จักเครื่องดนตรีและได้เคลื่อนไหวร่างกาย
6.จัดกิจกรรมให้เข้าใจในขั้นตอนให้มีประสบการณ์ให้มาก แล้วสรุปกฎเกณฑ์เพื่อจำเป็นอันดับสุดท้าย เช่น กิจกรรมทำโมบาย ต้องทำตามขั้นตอนเพื่อให้ทำโมบายได้ กิจกรรมการระบายสีด้วยการปั้มหมึกสีมาระบายบนรูปภาพ
7.จัดกิจกรรมทบทวน โดยตั้งคำถามให้ตอบปากเปล่าหรือสร้างเรื่องราวให้คิดซ้ำส่งเสริมให้เด็กคิดปัญหาและหาเหตุผล ข้อเท็จจริง เช่น กิจกรรมเสริมประสบการณ์ หน่วยสัตว์ โดยการให้เด็กๆเป็นตัวละครสัตว์และอาหารของสัตว์ ให้เด็กๆวิ่งจับคู่ว่าสัตว์ชิดนั้นกินอะไรเป็นอหาร สุดท้ายคุณครูก็มาสรุปว่ามีสัตว์อะไรบ้าง และกินอะไรเป็นอาหารไบ้าง เพื่อทบทวนให้เด็กจำได้ กิจกรรมเล่านิทานโดยใช้รูปภาพ คุณครูก็อธิบายวีธีการเล่านิทานสุดท้ายก็สรุปเป็นข้อคิดและถามเด็กๆ
ประกอบด้วยหัวข้อเนื้อหาหรือทักษะ
1.การนับ (Counting) เช่น การนับจำนวน 1-10 การนับจำนวนรูปภาพ การนับจำนวนเด็กในห้องเรียนของตัวเอง
2.ตัวเลข (Number) เช่น ให้เด็กเล่นเกี่ยวตัวเลข กิจกรรมส่งเสริมทางคณิตศาสตร์การอ่านวันที่ การชั่งน้ำหนัก-ส่วนสูง
3.การจับคู่ (Matching) เช่น การจับคู้รองเท้า การจับคู้ช้อน - ซ้อม การจับคู่ภาพเหมือนผลไม้ การจับคู่ภาพที่แตกต่างจากพวก
4.การจัดประเภท (Classification) เช่น การจัดหมวดหมู่เครื่องเขียน การจัดหมวดหมู่เครื่องแต่งกาย
5.การเปรียบเทียบ (Comparing) เช่น การเปรียบเทียบราคาผักว่าแพง-ถูก การเปรียบเทียบขนาดรองเท้าว่าใหญ่-เล็ก
6.การจัดลำดับ (Ordering) เช่น การจัดลำดับส่วนสูงของเด็กในห้องเรียน การจัดลำดับดินสอยาว-สั้น
7.รูปทรงและเนื้อที่ (Shape and space) เช่น รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงแก้วน้ำ-ขวดน้ำ
8.การวัด (Measurement) เช่น การวัดพื้นที่สนามเด็กเล่น การวัดส่วนสูง
9.เซต (Set) เช่น การจัดกลุ่มระหว่างผู้ชายกับผู้หญิง การจัดกลุ่มระหว่างผมยาว-ผมสั้น
10.เศษส่วน (Fraction) เช่น การนับลูกชิ้นในไม้เสียบ การนับขนมในห่อ
11.การทำตามแบบและลวดลาย (Patterning) เช่น การวาดรูปตามที่กำหนด การเขียนตามเส้นปะ ก-ฮ
12.การอนุรักษ์ หรือการคงที่ด้านปริมาณ (Conservation) เช่น การนำวัสดุธรรมชาติมาประดิษฐ์องเล่น การเรียนรู้การนับเลข
หลักการพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตร์ตามแนวทางการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์แก่เด็กปฐมวัย
1.เด็กเรียนจากประสบการณ์ตรงจากของจริง เริ่มจากการสอนรูปธรรม คือ
1.1 ขั้นใช้ของจริง
1.2 ขั้นใช้รูปภาพแทนของจริง
1.3 ขั้นกึ่งรูปภาพ
1.4 ขั้นนามธรรม
เช่น หนังสือนิทาน ของเล่นที่เป็นเครื่องครัว รูปภาพสัตว์ป่า รูปภาพอาหารต่างๆ
2.เริ่มจากสิ่งที่ง่ายๆใกล้ตัวเด็กจากง่ายไปหายาก เช่น การบอกทิศทาง การบอกวันและเวลา รูปทรงภาชนะที่ใส่อาหาร ชุดเครื่องแต่งกาย
3.สร้างความเข้าใจและรู้ความหมายมากกว่าให้จำ เช่น จานจะมีรูปทรงกลม ทรงรี ไว้ใช้ใส่อาหารที่เด็กๆรับประทานกันอยู่ทุกวัน แก้วน้ำ จะมีรูปทรงกระบอก เอาไว้ใส่น้ำ
4.ให้คิดจากปัญหาในชีวิตประจำวันของเด็กเพื่อขยายประสบการณ์ให้สัมพันธ์กับประสบการณ์เดิม เช่น การรับประทานอาหารด้วยตนเอง เม่ิ่อเด็กมาโรงเรียนต้องฝึกจับช้อน-ส้อมด้วยตัวเอง การจับดินสอในการเขียนชื่่อตัวเอง
5.จัดกิจกรรมให้เกิดความสนุกสนานและได้รับความรู้ไปด้วย เช่น กิจกรรมการทำขนมปัง ได้รู้วิธีการทำและอุปกรณ์ใการทำ กิจกรรมเต้นตามจังหวะเครื่่องดนตรี ได้รู้จักเครื่องดนตรีและได้เคลื่อนไหวร่างกาย
6.จัดกิจกรรมให้เข้าใจในขั้นตอนให้มีประสบการณ์ให้มาก แล้วสรุปกฎเกณฑ์เพื่อจำเป็นอันดับสุดท้าย เช่น กิจกรรมทำโมบาย ต้องทำตามขั้นตอนเพื่อให้ทำโมบายได้ กิจกรรมการระบายสีด้วยการปั้มหมึกสีมาระบายบนรูปภาพ
7.จัดกิจกรรมทบทวน โดยตั้งคำถามให้ตอบปากเปล่าหรือสร้างเรื่องราวให้คิดซ้ำส่งเสริมให้เด็กคิดปัญหาและหาเหตุผล ข้อเท็จจริง เช่น กิจกรรมเสริมประสบการณ์ หน่วยสัตว์ โดยการให้เด็กๆเป็นตัวละครสัตว์และอาหารของสัตว์ ให้เด็กๆวิ่งจับคู่ว่าสัตว์ชิดนั้นกินอะไรเป็นอหาร สุดท้ายคุณครูก็มาสรุปว่ามีสัตว์อะไรบ้าง และกินอะไรเป็นอาหารไบ้าง เพื่อทบทวนให้เด็กจำได้ กิจกรรมเล่านิทานโดยใช้รูปภาพ คุณครูก็อธิบายวีธีการเล่านิทานสุดท้ายก็สรุปเป็นข้อคิดและถามเด็กๆ
ประเมิน
ประเมินตัวเอง: วันนี้ตั้งใจเรียนได้ดีมาก ได้เอาหนังสือขึ้นมาจดเนื้อหา ได้ทำการบ้านเสร็จด้วยปกติจะไม่ค่อนสนใจทำการบ้าน แต่วันนี้ทำเสร็จเร็ว และ วันนี้ก็ไม่ได้มาสายมาเข้าเรียนทัน
ประเมินเพื่อน: วันนี้เพื่อนทุกคนตั้งใจเรียนกันดีมาก วันนี้สังเกตุเพื่อนแต่ละคนมีสมุดมาจดด้วย แล้วเวลาที่อาจารย์ให้แสดงความคิดเห็นทุกคนก็ช่วยกันจอบได้ดีมาก เพื่อนๆน่ารักมากเลย
ประเมินอาจารย์: วันนี้อาจารย์สอนได้สนุกมากคะ อาจารย์มีติดตลกด้วย เวลาเรียนอาจารย์ไม่ค่อยเครียด อาจารย์ให้เราสบายเวลาที่เรียน ไม่ใช่สบายแบบไม่ได้สอนอะไรนะ หมายความสบายในที้คือ อาจารย์ไม่ได้กดดัน หรือจี้ถามเหมือนแต่ก่อน อาจารย์จะให้เราช่วยกันตอบ ถ้าอันไหนไม่ได้อาจารย์จะคอนย้ำให้เราจำได้ เวลาที่ลืมหรือจำไม่ได้ อาจารย์ก็อธิบายซ้ำอีกรอบ แล้วค่อยปล่อย แล้วเริ่มเรียนเรื่องใหม่ การเรียนวันนี้สนุกแล้วได้ควมรู้มาก คะแนนที่เรียนนี้ให้ไปเลย 10/10 คะแนน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น